Humberger Menu

นักวิทยาศาสตร์เตือน ก๊าซมีเทนพุ่งสูงในอัตราความเร็วที่อันตราย ท้าทายเป้าหมายลดโลกร้อน

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Nature Matter

Environment

20 ก.พ. 65

creator
กองบรรณาธิการ
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+
เราจะอยู่ร่วมกับภัยพิบัติได้อย่างไร? เมื่อเราไม่สามารถหนีภัยพิบัติได้ตลอดไป การป้องกันภัยคือก้าวต่อไปที่ต้องเดิน
morebutton read more
Summary
  • เมื่อปีที่ผ่านมา ความเข้มข้นของก๊าซมีเทนที่สะสมในชั้นบรรยากาศที่พุ่งทะลุ 1,900 ส่วนในพันล้านส่วนโมเลกุลอากาศ (1,900 ppb) ทำให้เกิดความกังวลเรื่องโลกร้อนที่กำลังเพิ่มขึ้นด้วยอัตราความเร็วในระดับที่นักวิทยาศาสตร์มองว่า ‘อันตราย’
  • อัตราการปล่อยก๊าซมีเทนเคยลดลงในปี 2000 แต่กลับเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้งตั้งแต่ปี 2007 เป็นต้นมา นักวิทยาศาสตร์ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดว่าเกิดจากอะไร มีความพยายามศึกษาหลายๆ แบบ และมีการสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นภาวะโลกร้อนเองทำให้เกิดปฏิกิริยาตอบกลับที่ทำให้มีเทนถูกปล่อยออกมามากขึ้น
  • นักวิทยาศาสตร์บอกว่า ระดับก๊าซมีเทนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นภัยคุกคามสำคัญต่อเป้าหมายของโลกที่จะควบคุมการเพิ่มอุณหภูมิโลกไม่ให้เพิ่มเกิน 1.5-2 องศาเซลเซียสจากยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

Blood Moon: แสงสะท้อนของวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ในวันที่มลภาวะบนโลกทำให้ดวงจันทร์กลายเป็นสีแดง

ทำไมไซโคลนอัลเฟรดถล่มออสเตรเลีย ถึงปลุกกระแส ‘ไม่เชื่อเรื่องโลกร้อน’ ขึ้นมาได้?

Tsunami: Stories of Survival คลื่นชีวิตที่เปลี่ยนผัน เมื่อพวกเขาได้รู้จักกับ ‘สึนามิ’ และต้องเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกับภัยพิบัติ

หรือคนเยอรมันไม่สนใจสิ่งแวดล้อมแล้ว? เมื่อประเด็นโลกร้อนถูกให้ความสำคัญน้อยลง ในการเลือกตั้งเยอรมนี 2025

จากสึนามิ 2547 ถึงน้ำท่วม 2567 การจัดการภัยพิบัติของรัฐ คือบทเรียน 20 ปีที่ยังถูกตั้งคำถาม

Follow

TRENDING

+
morebutton read more