Humberger Menu

เศรษฐกิจอาเซียนจะเสียหายมหาศาล ถ้าไม่เร่งแก้โลกร้อน ภาคการเงินช่วยได้โดยเลือกลงทุน

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Economy

Environment

22 ก.ย. 64

creator
รุ่งนภา พิมมะศรี
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

จากเหล็กที่ไม่ได้มาตรฐานของตึก สตง. สู่ภาพสะท้อนทุนจีนที่รุกคืบเข้ามาในไทย รู้จัก ‘ซิน เคอ หยวน’ ผู้ผลิตเหล็กรายใหญ่ในไทย ที่มี ‘ทุนจีน’ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่

3 เม.ย. 68

Economy
จากเหล็กที่ไม่ได้มาตรฐานของตึก สตง. สู่ภาพสะท้อนทุนจีนที่รุกคืบเข้ามาในไทย รู้จัก ‘ซิน เคอ หยวน’ ผู้ผลิตเหล็กรายใหญ่ในไทย ที่มี ‘ทุนจีน’ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่
morebutton read more
Summary
  • มีการพูดกันมานานว่าปัญหาโลกร้อนจะส่งผลกระทบมหาศาลต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตบนโลกในหลายมิติ และมิติทางเศรษฐกิจก็เป็นผลกระทบอันดับแรกๆ ที่มีการศึกษาและยกมาเน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการเร่งแก้ไม่ให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปมากกว่านี้
  • เมื่อไม่นานมานี้มีรายงานศึกษาเกี่ยวกับสภาพอากาศกับผลกระทบทางเศรษฐกิจเปิดเผยตัวเลขออกมาว่า สภาพอากาศที่เพิ่มขึ้นจะทำให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สูญเสียศักยภาพทางเศรษฐกิจเป็นมูลค่ากว่า 7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ใน 30 ปีข้างหน้า และจะเพิ่มเป็น 28 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ในอีก 50 ปีข้างหน้า
  • ปีนี้นับเป็นสัญญาณที่ดีที่หลายภาคส่วนตื่นตัวพูดคุยเรื่องนี้กันมากขึ้น เมื่อเร็วๆ นี้ไทยรัฐพลัสได้เข้าร่วมฟังสัมมนาออนไลน์ของภาคธุรกิจการเงินที่ร่วมมือกันผลักดันเรื่องการลดโลกร้อน เดินหน้าสู่ความยั่งยืน โดยมี บัน คี มูน อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ มาแชร์ประสบการณ์การผลักดันความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศ และแนะแนวทางการผลักดัน ‘ความยั่งยืน’ ให้เป็นวาระหลักของโลก

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

Blood Moon: แสงสะท้อนของวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ในวันที่มลภาวะบนโลกทำให้ดวงจันทร์กลายเป็นสีแดง

ทำไมไซโคลนอัลเฟรดถล่มออสเตรเลีย ถึงปลุกกระแส ‘ไม่เชื่อเรื่องโลกร้อน’ ขึ้นมาได้?

Tsunami: Stories of Survival คลื่นชีวิตที่เปลี่ยนผัน เมื่อพวกเขาได้รู้จักกับ ‘สึนามิ’ และต้องเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกับภัยพิบัติ

หรือคนเยอรมันไม่สนใจสิ่งแวดล้อมแล้ว? เมื่อประเด็นโลกร้อนถูกให้ความสำคัญน้อยลง ในการเลือกตั้งเยอรมนี 2025

จากสึนามิ 2547 ถึงน้ำท่วม 2567 การจัดการภัยพิบัติของรัฐ คือบทเรียน 20 ปีที่ยังถูกตั้งคำถาม

Follow

TRENDING

+
morebutton read more