Humberger Menu

เรียนศิลปะ (บ้านเรา) แล้วไปไหน #1 : เรียนหนัง ทำงานตรงสาย อยู่ได้จริงหรือ? ส่วนลึกสุดใจจาก โน้ต จูเนียร์

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Social Issues

19 ธ.ค. 64

creator
นคร โพธิ์ไพโรจน์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

ทำความเข้าใจ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมยังวนลูปอยู่ที่เดิม

3 ต.ค. 67

Thai Politics
ทำความเข้าใจ การร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทำไมยังวนลูปอยู่ที่เดิม
morebutton read more
Summary
  • ‘เรียนศิลปะ (บ้านเรา) แล้วไปไหน’ คือชุดบทสัมภาษณ์สามตอนจบที่ชวนสามศิษย์เก่ามาวิพากษ์ถึงระบบการศึกษาสาย ‘ศิลปะ’ ในประเทศไทย รวมถึงโครงสร้างของสังคมที่ไม่ได้เอื้อเฟื้อพื้นที่ให้คนทำงานสายนี้มากพอ จนหลายคนต้องใช้ ‘ลูกฮึด’ ในการมีชีวิตให้อยู่รอดไปพร้อมๆ กับการขวนขวายทำงานศิลปะที่ตัวเองรัก – เริ่มด้วย โน้ต จูเนียร์-จิตต์สินธ์ ผ่องอินทรกุล จากสายภาพยนตร์
  • หากไม่นับสถานะลูกชายของตลกชั้นครู โน้ต เชิญยิ้ม ก็ต้องนับว่า โน้ต จูเนียร์ เป็นคนหนึ่งที่มุ่งสู่เส้นทาง ‘คนทำหนัง’ ตั้งแต่เด็ก โดยเขาเลือกเรียนนิเทศศาสตร์ เอกภาพยนตร์ ม.รังสิต ด้วยความคิดที่จะเป็นผู้กำกับหนัง พร้อมกระโดดเข้าสู่วงการหนังไทยสายเอาใจมหาชนในทันทีที่เรียนจบ ซึ่งหลังจากทำ ‘อีส้มสมหวัง ชะชะช่า’ เมื่อเกือบสิบปีก่อน เขาก็เพิ่งกลับมาอีกครั้งด้วยหนัง ‘Dark World เกม ล่า ฆ่า รอด’ ในปีนี้
  • ความเป็นลูกตลกคนดังของโน้ต จูเนียร์ อาจเป็นดาบสองคม เพราะมันทั้งมอบโอกาสให้เขาได้ใช้วิชาจากรั้วมหาวิทยาลัยอย่างทันท่วงที ขณะเดียวกันก็เป็นดั่งพันธนาการให้เขาต้องดิ้นรนเป็นสองเท่าเพื่อหลุดพ้นจากตระกูล ‘เชิญยิ้ม’ ของพ่อไปให้ได้ อีกทั้งยังต้องพบเจออุปสรรคจากปัญหาคลาสสิกของนักเรียนหนังที่ว่า การเป็นคนทำหนังในประเทศนี้ไม่เคยเป็นเรื่องง่าย

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

“ตาคลี เจเนซิสเกิดขึ้นได้เพราะความหวังล้วนๆ เลยนะ” คุยกับ มะเดี่ยว - ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล หัวหมู่ทะลวงฟันที่หวังอยากให้ตาคลี เจเนซิส ปักธงภาพยนตร์ไซไฟไทยในตลาดโลก

สรุปภาพเทศกาลคานส์ 2024: การเมือง เรื่องเพศ ประเทศภาพยนตร์

ขึ้นคานส์: 20 ปีที่ทั้งรักทั้งชังของเทศกาลหนังที่ (อาจจะ) สำคัญที่สุดในโลก

Morrison ภาพยนตร์จัดจ้านแสงสี ดั่งนิทรรศการศิลปะที่ทับซ้อนระหว่างความฝันและความจริง

500 Days of Summer 15 ปีที่เราเข้าใจมากขึ้นทีละนิดว่านี่แหละ ‘ความรัก’ และนี่แหละ ‘ความไม่รัก’

Follow

TRENDING

+
morebutton read more