Humberger Menu

ร่าง พ.ร.บ.เอ็นจีโอ: ปิดปากหรือป้องปรามอาชญากรรม?

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Social Issues

5 มิ.ย. 65

creator
สฤณี อาชวานันทกุล
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค

20 พ.ย. 67

Thai Politics
4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค
morebutton read more
Summary
  • ผู้เขียนเห็นว่า ความเสี่ยงของเอ็นจีโอไทยที่อาจเกี่ยวพันกับกิจกรรมผิดกฎหมาย หลักๆ มีอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1) ความเสี่ยงที่จะถูกใช้เป็นเครื่องมือหนีภาษี 2) ความเสี่ยงที่จะถูกใช้ในการฟอกเงิน และ 3) ความเสี่ยงที่จะถูกใช้ในการสนับสนุนการก่อการร้าย
  • ความเสี่ยงที่เอ็นจีโอจะถูกใช้เป็นเครื่องมือหนีภาษีมีอยู่จริง เศรษฐีบางคนหลบเลี่ยงภาษีด้วยการตั้งองค์กรไม่แสวงหากำไรในรูปมูลนิธิขึ้นมา โดยไม่มีเจตนาใดๆ ที่จะทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ อาศัยช่องว่างที่ว่า งบการเงินรายปีของมูลนิธิที่ต้องส่งกระทรวงมหาดไทยนั้น อาจไม่มีการกวดขันตรวจสอบอย่างเข้มข้นเท่ากับงบการเงินของบริษัทจำกัด (ที่ต้องส่งกระทรวงพาณิชย์)
  • สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) มิได้แนะนำให้รัฐกำหนดนิยามเอ็นจีโออย่างเหมาเข่ง ตีขลุมไปรวม “กลุ่มบุคคล” (ที่ไม่ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล) มิได้แนะนำให้ออกกฎหมายบังคับให้เอ็นจีโอทุกประเภททุกขนาดต้องเปิดเผยแหล่งที่มา และจำนวนเงินสนับสนุน หรือทรัพย์สินทั้งหมดที่ใช้ในการดำเนินการ
  • แต่เนื้อหาที่เหวี่ยงแหทั้งหมดนี้ ล้วนอยู่ในร่าง พ.ร.บ.เอ็นจีโอ ฉบับที่ ครม. อนุมัติ และชัดเจนว่าไม่เป็นไปตามหลักการ “ได้สัดส่วน” และ “กำกับตามระดับความเสี่ยง” ของ FATF แต่อย่างใด

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ร่าง พ.ร.บ.เอ็นจีโอ กับการ “ป้องกันการแทรกแซงจากต่างชาติ” ?

Follow

TRENDING

+
morebutton read more