Humberger Menu

ถอดบทเรียนการ 'การุณยฆาต' จาก 'เนเธอร์แลนด์-แคนาดา' และการถกเถียงในสังคมไทยควรเป็นอย่างไร

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Social Issues

26 ส.ค. 65

creator
วิทย์ บุญ
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+
ยกฟ้องผู้ผลิตสปายแวร์ Pegasus เพราะไม่พบหลักฐานการละเมิด สรุปว่ารัฐสอดแนมประชาชนจริงหรือไม่?

Politics & Society

จากผู้ทรงอิทธิพลเบื้องหลัง โดนัลด์ ทรัมป์ โอกาสที่ อีลอน มัสก์ จะลงสมัครประธานาธิบดีมีมากแค่ไหน

22 พ.ย. 67

World
จากผู้ทรงอิทธิพลเบื้องหลัง โดนัลด์ ทรัมป์ โอกาสที่ อีลอน มัสก์ จะลงสมัครประธานาธิบดีมีมากแค่ไหน
morebutton read more
Summary
  • หลายประเทศทั่วโลกเริ่มตระหนักถึงความสำคัญ และยอมรับสิทธิการตัดสินใจต่อ “วาระสุดท้ายของชีวิต” บุคคลมีสิทธิแสดงเจตนาว่าต้องการให้มีการดูแลอย่างไรในระยะสุดท้าย เพื่อให้เสียชีวิตอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย โดยเฉพาะวิธี "การุณยฆาต" (Euthanasia)
  • ประสบการณ์ของ "เนเธอร์แลนด์" และ "แคนาดา" พบมีแนวคิดพื้นฐานที่ว่าการเลือกวิธีตายเป็นสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ แต่ประชาชนจะพิจารณา “การุณยฆาต” ในฐานะทางเลือกในการยุติชีวิตได้ก็ต่อเมื่อได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วนจนให้ความยินยอมแล้วเท่านั้น
  • งานวิจัยชี้ว่าสำหรับประเทศไทยการถกเถียงในประเด็นการุณยฆาตควรจะต้องอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจที่ตรงกัน และต้องคำนึงถึงประเด็น "คุณค่าในสังคม" เพราะในต่างประเทศประชาชนมีความเข้าใจในด้านสิทธิและความรับผิดชอบส่วนบุคคลในระดับสูง อีกทั้งประชาชนส่วนใหญ่ยังมีแนวคิดทางการเมืองในแบบเสรีนิยมมากกว่าอนุรักษ์นิยม ไม่เหมือนกับประเทศไทย

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

หากไม่อยากมีวันพรุ่งนี้ เราเข้าถึงความช่วยเหลือให้ ‘จบชีวิต’ ได้ไหม

เรียนรู้โลกหลากหลายผ่าน ‘นิยายวาย’ ไปกับ พญ.อิสรีย์ ศิริวรรณกุลธร เจ้าของนามปากกา Sammon ที่รักการเล่าเรื่องสุดระทึก

‘สิทธิที่จะตาย’ มีจริงไหม? ผู้ป่วยชาวโคลอมเบีย ถูกระงับการการุณยฆาต ก่อนเวลานัดไม่กี่ชั่วโมง

Follow

TRENDING

+
morebutton read more