Humberger Menu

‘น่าน’ เมืองและผู้คนในวงล้อมอำนาจรัฐ แรงกดดันทางการเมือง และคลื่นการเปลี่ยนแปลงทุนนิยม

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Human's Life

Social Issues

14 พ.ย. 66

creator
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค

20 พ.ย. 67

Thai Politics
4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค
morebutton read more
Summary
  • let:
  • น่านเป็นหัวเมืองตอนเหนือที่ติดชายแดนลาว เจ้านายน่านได้มาสวามิภักดิ์สยามช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 และสองเหตุการณ์สำคัญคือ ‘สนธิสัญญาเชียงใหม่’ ที่จัดความสัมพันธ์กับสยาม และเหตุการณ์ ร.ศ.112 ฝรั่งเศสเข้ามาสถาปนาอำนาจเหนือฝั่งขวาลุ่มน้ำโขง น่านจึงเสียพื้นที่บางส่วนไป
  • ช่วงที่สยามมีบทบาททางการปกครองมากขึ้นในนามมณฑลเทศาภิบาล น่านอยู่ภายใต้มณฑลพายัพ มีศูนย์กลางที่เชียงใหม่ สยามจึงเข้ามาจัดระเบียบด้วยการสร้างหน่วยงานราชการต่างๆ ทำถนนแนวใหม่ ซึ่งช่วยจัดระเบียบที่ดินและควบคุมกรรมสิทธิ์ต่างๆ ที่เคยอยู่ในมือเจ้าให้มาอยู่ในมือรัฐบาลโดยตรง
  • เมื่อภัยคุกคามชายแดนและอำนาจจากฝรั่งเศสทุเลาลงแล้ว น่านจึงไม่สู้มีความสำคัญมากนัก ต่อมาการวางเส้นทางรถไฟในยุคนั้นที่ไม่ผ่านหลายจังหวัด แต่น่านไม่อยู่ในแผนการสร้างความทันสมัยแบบจังหวัดอื่นๆ ทั้งในแง่อำนาจการเมืองและความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ
  • น่านกลับมาเป็นที่สนใจในสายตารัฐอีกครั้งในช่วงสงครามเย็น หลายพื้นที่ของน่านกลายเป็น ‘เขตปลดปล่อย’ ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ทำให้มีการจัดตั้งกิ่งอำเภอเพิ่มขึ้น เพื่อส่งนายอำเภอและปลัดอำเภอลงไปคุมพื้นที่ น่านจึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางการเมือง

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

'แม่สอด' เมืองชายแดนที่เกือบรุ่ง หากไม่เกิดรัฐประหารพม่า

Follow

TRENDING

+
morebutton read more