Humberger Menu

ไทย-กัมพูชา เรื่องค้างคาในพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Thai Politics

Global Affairs

10 ม.ค. 67

creator
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค

20 พ.ย. 67

Thai Politics
4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค
morebutton read more
Summary
  • พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างไทยและกัมพูชา มีพื้นที่ 26,000 ตารางกิโลเมตร ที่เชื่อกันว่าอาจจะมีก๊าซธรรมชาติอยู่ในปริมาณ 11 ล้านล้านคิวบิกฟุต หรือคิดเป็นมูลค่าในราคาปัจจุบัน 3.5 ล้านล้านบาท และน้ำมันอีก 500 ล้านบาร์เรล คิดเป็นมูลค่า 1.5 ล้านล้านบาท
  • ความเป็นไปได้ที่จะแบ่งปันทรัพยากรร่วมกันยังเป็นไปได้ยาก เพราะการแก้ไขข้อพิพาทในพื้นที่ทับซ้อนระหว่างไทยและกัมพูชานั้นดำเนินการมาแล้ว 23 ปี ใน ‘บันทึกความเข้าใจว่าด้วยพื้นที่ที่ไทยและกัมพูชาอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกัน’ แต่ยังไม่มีความคืบหน้า
  • ปัญหาเช่น วิธีการแบ่งเขตในบันทึกความเข้าใจของไทยและกัมพูชาไม่ตรงกัน และเฉพาะส่วนไทยเอง ผู้รับผิดชอบมีทั้งกระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงพลังงาน ซึ่งมักมาจากคนละพรรคการเมือง ทำให้มีการสื่อสารคนละแบบ

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ถ้าไทยยกเลิก MOU 44 จะเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ทับซ้อนไทย - กัมพูชา

รัฐบาลแพทองธารมีศักยภาพและขีดความสามารถแค่ไหนในการเจรจาพื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา

การกลับมาของ ‘วาทกรรมเสียดินแดน’ ที่อาจทำให้ความร่วมมือไทย-กัมพูชา บนพื้นที่ทับซ้อนทางทะเล ไม่เดินหน้าสักที

พื้นที่ทับซ้อนไทย-กัมพูชา จะถอยหลังสู่ทางตัน หรือเดินหน้าหาทางออก

พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย ความหวังใหม่ของการพัฒนาปิโตรเลียมของกัมพูชา

Follow

TRENDING

+
morebutton read more