Humberger Menu

ร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม กับความแตกต่างเงื่อนไขการยกโทษ การยุติความขัดแย้ง 20 ปี จะจบหรือไม่?

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Thai Politics

Politics

2 ก.พ. 67

creator
ณัฏฐ์นรี เฮงสาโรชัย
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค

20 พ.ย. 67

Thai Politics
4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค
morebutton read more
Summary
  • ‘พ.ร.บ. นิรโทษกรรม’ เป็นสิ่งที่สังคมไทยคุ้นเคยกันมาอย่างยาวนาน เมื่อเกิดเหตุการณ์เปลี่ยนผ่านทางการเมืองอยู่เสมอ ในฐานะเครื่องมือล้างความผิด เพื่อก้าวข้ามความขัดแย้งทางการเมือง และให้ทุกฝ่ายเริ่มต้นใหม่
  • ความขัดแย้งที่ผ่านมายาวนานกว่า 10 ปี ไม่อาจที่จะลบเลือนได้ง่ายดายนัก เมื่อนักเคลื่อนไหวทางการเมืองส่วนใหญ่ยังคงมีคดีความ ถูกเฝ้าระวังติดตามตัว และส่วนหนึ่งต้องอยู่ในเรือนจำ หลังจากเกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจ ทำให้พรรคเพื่อไทยเข้ามาเป็นรัฐบาลจากการร่วมมือกับพรรคขั้วรัฐบาลก่อนหน้าได้ การผลักดันกฎหมายนิรโทษกรรมจึงกลับมาเป็นที่ถกเถียงอีกครั้ง
  • ข้อสำคัญเรื่องนี้คือ การนิรโทษกรรมแบบเหมาเข่งจะกลับมาอีกครั้งหรือไม่ โดยจะเป็นอีกครั้งที่เจ้าหน้าที่รัฐไม่ต้องรับผิดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจย้อนกลับมาเป็นจุดชนวนความขัดแย้งอีกครั้งหนึ่ง รวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่หลายพรรคจากฝั่งรัฐบาลส่งสัญญาณไม่เห็นด้วยว่าควรได้นิรโทษกรรม
  • ไทยรัฐพลัสยกร่าง พ.ร.บ. นิรโทษกรรม 5 ฉบับ โดยมีพรรคการเมืองและประชาชนเสนอ เปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่างและความเหมือน โดยเฉพาะเงื่อนไขต่างๆ ในการนิรโทษกรรมคดีความทางการเมืองตลอด 2 ทศวรรษที่ผ่านมา

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

Spotlight: นิรโทษกรรมไปต่อได้ไหม ค่าธรรมเนียมรถติดคืออะไร และไทยได้อะไรจาก BRICS

เปิดรายงานการศึกษา ‘กฎหมายนิรโทษกรรม’ คดีมาตรา 112 เป็นคดีอ่อนไหว และยังไม่ได้ข้อสรุป

366 วัน อานนท์ นำภา ถูกคุมขัง กับคำถามถึงอิสรภาพนักโทษมาตรา 112 และกฎหมายนิรโทษกรรม

ถ้ายุบก้าวไกล มาตรา 112 และนิรโทษกรรม จะเดินหน้าต่ออย่างไร

ผลแสดงความเห็น พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับประชาชน ไม่เห็นด้วย 64.66% คดี 112 ส่อเค้าไม่ได้นิรโทษกรรม

Follow

TRENDING

+
morebutton read more