Humberger Menu

Without Justice, There can be no love เดือนแห่งความรัก ความยุติธรรม และเหตุผลที่ต้อง ‘นิรโทษกรรมประชาชน’

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Thai Politics

Politics

2 ก.พ. 67

creator
ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค

20 พ.ย. 67

Thai Politics
4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค
morebutton read more
Summary
  • เหตุการณ์ทางการเมืองที่ดำเนินมาตั้งแต่ก่อนรัฐประหาร 2549 เรื่อยมาจนถึงหลังการรัฐประหาร 2557 ทำให้ประเทศไทยมีประชาชนที่ถูกดำเนินคดีจำนวนมากเนื่องจากการแสดงออกทางการเมือง
  • ในยุค พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มีประชาชนถูกดำเนินคดีทางการเมืองกว่า 1,800 ราย ฐานความผิดที่ประชาชนถูกดำเนินคดีมากที่สุด คือ การฝ่าฝืนพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ) และนอกจากนั้นยังมีฐานความผิด มาตรา 112 แห่งประมวลกฎหมายอาญา เนื่องมาจากการแสดงออกทางการเมืองและข้อเรียกร้องเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์
  • หลายฝ่ายเห็นตรงกันว่า การนิรโทษกรรมคือกลไกสำคัญในก้าวข้ามความขัดแย้งทางการเมือง ทำให้พรรคการเมืองและภาคประชาชนเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรม โดยมีรายละเอียดของคดีที่เห็นควรได้รับนิรโทษกรรมแตกต่างกัน
  • แคมเปญ ‘นิรโทษกรรมประชาชน’ ของภาคประชาชน จะมีการเสนอร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน เพื่อยุติการดำเนินคดีจากการแสดงออก และการชุมนุมทางการเมืองตลอด 20 ปีที่ผ่านมา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาและออกบังคับใช้เป็นกฎหมาย โดยจะเดินหน้ารวบรวมรายชื่อประชาชนให้ได้ 10,000 รายชื่อ รวมถึงดำเนินการกิจกรรมต่างๆ ภายในวันที่ 1-14 กุมภาพันธ์ 2567 นี้

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

Spotlight: นิรโทษกรรมไปต่อได้ไหม ค่าธรรมเนียมรถติดคืออะไร และไทยได้อะไรจาก BRICS

เปิดรายงานการศึกษา ‘กฎหมายนิรโทษกรรม’ คดีมาตรา 112 เป็นคดีอ่อนไหว และยังไม่ได้ข้อสรุป

366 วัน อานนท์ นำภา ถูกคุมขัง กับคำถามถึงอิสรภาพนักโทษมาตรา 112 และกฎหมายนิรโทษกรรม

ถ้ายุบก้าวไกล มาตรา 112 และนิรโทษกรรม จะเดินหน้าต่ออย่างไร

ผลแสดงความเห็น พ.ร.บ.นิรโทษกรรมฉบับประชาชน ไม่เห็นด้วย 64.66% คดี 112 ส่อเค้าไม่ได้นิรโทษกรรม

Follow

TRENDING

+
morebutton read more