Humberger Menu

บทลงโทษเพื่อเข้าใจคนอื่น เมื่อป้าหัวร้อนปาเบอร์ริโตใส่พนักงาน ถูกลงโทษให้ทำงานร้านฟาสต์ฟู้ดแทนการจำคุก

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Human's Life

Social Issues

14 ส.ค. 67

creator
ณัฏฐ์นรี เฮงสาโรชัย
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค

20 พ.ย. 67

Thai Politics
4 ปีการกลับมาของมาตรา 112 จากกฎหมายปราบม็อบ 2563 สู่ปัจจัยตั้งรัฐบาลและยุบพรรค
morebutton read more
Summary
  • บทลงโทษจำคุกเป็นวิธีดั้งเดิมที่ทั่วโลกใช้มาอย่างยาวนานตั้งแต่ในอดีตกาลจนถึงปัจจุบัน แต่หลายครั้งที่วิธีนี้ไม่ได้ช่วยให้ผู้ต้องโทษสำนึกผิดในการกระทำ
  • ปัจจุบันจึงมีบทลงโทษที่ทำให้ผู้กระทำเข้าอกเข้าใจความรู้สึกของผู้เสียหาย หรือที่เรียกว่า Empathy Punishment
  • ตัวอย่างคดีที่เห็นได้ชัดคือกรณีของ โรสแมรี เฮย์น (Rosemary Hayne) หญิงวัย 40 ปี ที่เคยขว้างชามเบอร์ริโตใส่หน้าของ เอมิลี รัสเซล (Emily Russell) ผู้ช่วยผู้จัดการร้านชิโปเล (Chipotle) วัย 25 ปี
  • แม้โรสแมรีถูกศาลเมืองปาร์มา สหรัฐอเมริกา ตัดสินว่าเธอผิดในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นและได้รับโทษจำคุกทั้งหมด 180 วัน แต่ผู้พิพากษาคดีนี้เสนอบทลงโทษพิเศษจะให้โรสแมรีจำคุกเพียง 90 วัน และมีโอกาสลดโทษลงได้เหลือ 60 วัน หากเธอทำงานในร้านฟาสต์ฟู้ดเป็นเวลา 2 เดือน และเรียนรู้ว่าควรปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างไร

...



Share article
  • Line
  • link

Follow

TRENDING

+
morebutton read more