ท่ามกลางความหลากหลายของภาษา ทำไม ‘ภาษาถิ่น’ จึงกลายเป็น ‘ภาษาอื่น’ คุยกับ ยุกติ มุกดาวิจิตร นักมานุษยวิทยาด้านภาษา
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
Summary
- ระบบภาษาเป็นสิ่งที่มนุษย์คิด พูดออกมาเพื่อสื่อสาร และสร้างความหมายเชิงสังคมให้กับตนเองและผู้อื่น แต่คุณค่าและความหมายเหล่านั้นขึ้นอยู่กับการกำหนดของผู้มีอำนาจทางสังคม โดยเฉพาะการสร้างความเป็นอื่น
- อำนาจของประเทศไทยทุกอย่างถูกรวมศูนย์กลางอยู่ที่กรุงเทพฯ ทำให้ ‘ภาษากลางแบบกรุงเทพฯ’ กลายเป็นภาษาหลัก ภาษาจึงกำหนดอำนาจทางสังคม ดังนั้น ภาษาอีสาน ภาษาเหนือ ภาษาราชการ ภาษาไทย ภาษาชาติพันธุ์ จึงกลายเป็นอื่นและจำกัดในท้องถิ่น เป็นภาษาถิ่นที่รอวันสาบสูญ
- การเรียนรู้ภาษาที่หลากหลายในพื้นที่เดียวกัน ทำให้เรามีโอกาสที่จะเรียนรู้จากคนที่ใช้ภาษาต่างกัน เพราะเขามีระบบคิดและการมองโลกที่ไม่เหมือนเรา ทำให้เราได้ขยายความรับรู้เกี่ยวกับความเป็นมนุษย์ไปได้เรื่อยๆ
...
Author
ณัฐชานันท์ กล้าหาญ
ทำงานแปล (ผลงานแปลนวนิยายเล่มล่าสุดคือ Normal People) เขียน ถ่ายรูป สนใจประเด็นวัฒนธรรม สิทธิมนุษยชน ลงพื้นที่ทำสารคดีเป็นครั้งคราว พยายามเขียนวรรณกรรมอย่างต่อเนื่อง ชอบร่อนเร่ไปในเชียงใหม่และตรังในทุกๆ ปี ชื่อเบียวอีกชื่อหนึ่งคือ Mind da hed