ถ้าไทยยกเลิก MOU 44 จะเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ทับซ้อนไทย - กัมพูชา
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
Summary
- ไทยและกัมพูชาเจรจาเรื่องไหล่ทวีปทับซ้อนตั้งแต่ปี 2513 ต่อมาปี 2515 และ 2516 ไทยและกัมพูชาลากเส้นแนวเขตไหล่ทวีปออกจากหลักเขตที่ 73 เป็นคนละเส้น จึงเกิดเป็นพื้นที่ทับซ้อนกัน แต่เกาะกูดซึ่งอยู่ด้านบนของพื้นที่ทับซ้อนเป็นของไทยตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส 1907
- บันทึกความเข้าใจ MOU 44 ไม่ได้เกิดขึ้นตามอำเภอใจของใครคนใดคนหนึ่ง หากแต่เป็นผลผลิตของการเจรจาที่ยืดเยื้อยาวนาน ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องง่ายอีกเช่นกันที่จะบอกเลิกตามอำเภอใจ
- แต่เนื่องจากบันทึกความเข้าใจนี้ไม่ได้ระบุวิธีการบอกเลิกหรือเพิกถอนเอาไว้ จึงต้องไปปฏิบัติตามหลักทั่วไป กล่าวคือ เมื่อมีมติเช่นนั้นแล้ว คณะรัฐมนตรีสมควรจะต้องนำมตินี้ไปขอความเห็นชอบจากรัฐสภาเสียก่อน แล้วค่อยแจ้งไปทางกัมพูชาถึงการตัดสินใจของประเทศไทย
...
Author
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี
นักข่าวและนักวิจัย ซึ่งเชี่ยวชาญประเด็นการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในอาเซียน