Humberger Menu

รู้จักภาษีความเค็มเพื่อสุขภาพ เมื่อการให้น้ำปลา = มีน้ำใจ?

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Politics & Society

Human's Life

Economy

25 เม.ย. 66

creator
ณัฏฐ์นรี เฮงสาโรชัย
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Politics & Society

ปิดศูนย์การเรียนรู้เด็กพม่า เพิ่มความเสี่ยงการใช้แรงงานเด็ก ทำไมกระทรวงภูมิใจไทยไม่ทำงานร่วมกัน

13 ก.ย. 67

Thai Politics
ปิดศูนย์การเรียนรู้เด็กพม่า เพิ่มความเสี่ยงการใช้แรงงานเด็ก ทำไมกระทรวงภูมิใจไทยไม่ทำงานร่วมกัน
morebutton read more
Summary
  • จากกระแสวิพากษ์วิจารณ์หนังสือเรียนภาษาไทย ‘ภาษาพาที’ อย่างการบี้ไข่ต้มครึ่งซีกพร้อมน้ำปลาและข้าว เพื่อให้อิ่มท้อง แต่ขาดสารอาหารในความเป็นจริง ที่หลายคนต่างกังวลกับอนาคตของชาติที่ได้รับการสอนผ่านการสอดแทรกแนวคิดและกำลังปลูกฝังค่านิยมแบบไหนให้กับเด็กกันแน่?
  • เรื่องราวของ ‘ใบพลู’ ที่ไปขอน้ำปลาจากร้านข้าวแกง เพราะซื้อข้าวมันไก่ แล้วน้ำจิ้มเผ็ดไป แต่เมื่อไปขอกลับถูกต่อว่า คนส่วนมากเห็นด้วยกับร้านข้าวแกง เพราะน้ำปลาก็เป็นต้นทุนอย่างหนึ่ง
  • เนื่องจากปัจจุบันน้ำปลาขึ้นราคากว่า 5-15ข่าว เปอร์เซ็นต์ เพราะต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น และอีกปัจจัยที่อาจมีผลคือ แผนการจัดเก็บภาษีความเค็ม เป็นแผนที่จะจัดเก็บภาษีเฉพาะสินค้าที่มีปริมาณโซเดียมเกินมาตรฐานความเค็มที่กฎหมายกำหนด ตามมาด้วยขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป และเครื่องปรุงรสเค็ม เตรียมขึ้นราคา (บางอย่างขยับขึ้นแล้ว) แต่เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้เรื่องนี้เงียบไป รวมทั้งยังมีแผนจัดเก็บภาษีความมันควบคู่กันด้ว
  • นอกจากนี้ ยังมีภาษีความหวานที่ถูกบังคับใช้แล้ว ส่งผลให้ราคาสินค้าเครื่องดื่มที่มีรสหวานต่างๆ ขึ้นราคา

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ไข่ต้ม น้ำปลา ผัดผักบุ้ง และปัญหาการ ‘กินเค็ม’ ของเด็กๆ : จากแบบเรียน ‘ภาษาพาที’ ถึงกรมอนามัย

Follow

TRENDING

+
morebutton read more