‘ชีวิตเรามีแค่สี่พันสัปดาห์’ : ปลดพันธนาการ ‘ทาสของเวลา’ ในสังคมคลั่ง Productivity
-ก
ก
ก+
Light
Dark
ฟังบทความ
...
Summary
- ‘ชีวิตเรามีแค่สี่พันสัปดาห์’ พาเราค้นลึกไปในความคิดความเชื่อของยุคสมัยที่ว่า ผลิตภาพ (productivity) คือคุณธรรม เราทุกคนตกอยู่ในกับดักนี้ เมื่อ ‘เวลา’ กลายเป็นสิ่งที่ชั่งตวงวัดได้ทางคณิตศาสตร์ และเป็นสิ่งที่เรา ‘ใช้’ ซึ่งหนังสือเล่มนี้อาจเปลี่ยนแปลงความเชื่อนั้นได้ ด้วยการทำให้คุณเห็นว่า จริงๆ แล้ว ตัวคุณนั่นเองคือ ‘เวลา’
- มันมีความป่วยไข้บางอย่างอยู่ในวิธีคิดแบบเน้นผลิตภาพ นั่นคือ “ปัญหาของการพยายามจะเป็นนายของเวลาก็คือ สุดท้ายเวลาได้กลายเป็นนายของคุณเสียเอง” เพราะขณะที่เราทุกคนทำตัวเองให้ยุ่ง และหาวิธีประหยัดเวลาในการทำสิ่งต่างๆ แต่สุดท้าย “งานก็จะขยายตัวตามเวลาที่มันมี”
- สิ่งแรกที่หนังสือเล่มนี้แนะนำ คือยอมรับเสียว่า คุณไม่เคยมีอำนาจควบคุมอะไรจริงๆ ก็เหมือนกับกฎข้อแรกของการเลิกเหล้านั่นแหละ เพราะคนที่เลิกเหล้าจะต้องยอมรับก่อนว่า พวกเขาไม่มีอำนาจเหนือเครื่องดื่มมึนเมา – เราไม่เคยมีอำนาจควบคุมเวลาและผลิตภาพได้อย่างแท้จริง เพราะทุกโครงการจะใช้เวลามากกว่าที่คิดเสมอ และอาจมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเข้ามา
...
Author
นภัทร มะลิกุล
รักในการขีดเขียน ชอบเสพงานศิลปะ โดยเฉพาะหนังและหนังสือ ปัจจุบันเป็นฟรีแลนซ์อยู่ที่ขอนแก่น และเป็น co-founder ของบล็อกสำหรับคนรักหนัง afterthescene