Humberger Menu

โตเกียว โอลิมปิก 2020 กับความหลากหลายทางเพศ ที่ยังเป็นเพียง ‘หน้าฉาก’?

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Subculture

Culture

12 ส.ค. 64

creator
พิมพ์ชนก พุกสุข
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Subculture

เมื่อเพลง Rockstar ของลิซ่า ทำให้เกิดข้อถกเถียงในกลุ่มนักวิชาการเกาหลี ว่าเป็น K-Pop หรือ T-Pop?

3 ก.ค. 67

Music
เมื่อเพลง Rockstar ของลิซ่า ทำให้เกิดข้อถกเถียงในกลุ่มนักวิชาการเกาหลี ว่าเป็น K-Pop หรือ T-Pop?
morebutton read more
Summary
  • หากมองจากภาพรวมของโอลิมปิก 2020 ที่เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปิดฉากจบอย่างงดงามไปแล้วนั้น เราจะพบว่าเกิดปรากฏการณ์ที่น่าสนใจหลายอย่าง โดยเฉพาะ ‘ความหลากหลายทางเพศ’ ของบรรดานักกีฬาที่เห็นได้ชัดว่าเพิ่มขึ้นจากเมื่อสี่ปีก่อนเป็นเท่าตัว จนถูกขนานนามว่าเป็น ‘มหกรรมกีฬาที่เควียร์ (Queer) ที่สุด’ เท่าที่เคยมีมา
  • การปรากฏตัวของนักกีฬาเหล่านี้ในมหกรรมโอลิมปิกเป็นเรื่องที่ยิ่งใหญ่ในความคิดของใครหลายคน เนื่องจากนักกีฬาชาว LGBTQ+ เหล่านี้สามารถคว้าเหรียญทองได้เป็นจำนวนถึง 30% และนั่นแปลว่าพวกเขาไม่ได้แค่ปรากฏตัวขึ้นมาเฉยๆ เท่านั้น แต่ฝีมือของพวกเขายังยอดเยี่ยมมากๆ อีกด้วย
  • อย่างไรก็ตาม แม้เราจะได้เห็นเหล่านักกีฬาเหล่านี้ลงแข่งเป็นจำนวนมากกว่าที่เคย แต่ก็ไม่ได้แปลว่าโอลิมปิกที่โตเกียวเป็นภาพแทนของ ‘สังคมแห่งความหลากหลายทางเพศ’ อย่างสมบูรณ์แบบ เพราะการล้อเลียนหรือเลือกปฏิบัติด้วยประเด็นทางเพศ ก็ยังมีให้เห็นอยู่เป็นระยะ

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

เปิดแบรนด์ชุบชูใจของ ทอม เดลีย์ : จากงานอดิเรกริมสระโอลิมปิก สู่ธุรกิจชุดถักนิตติ้งแสนสดใส

มองเศรษฐกิจญี่ปุ่นจากยุค Abenomics สู่นโยบาย New Capitalism ของผู้นำคนใหม่ ฟูมิโอะ คิชิดะ

การทวงคืน ‘ผมสั้น’ ของผู้หญิงเกาหลีใต้ จากโลกออนไลน์ ถึงมหกรรมกีฬาโอลิมปิก

Follow

TRENDING

+
morebutton read more