Humberger Menu

ดูแลอย่างไร เมื่อ ‘ผู้สูงวัย’ หมดใจจะมีชีวิตอยู่

-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

Everyday Life

Relationships

Lifestyle

18 ก.ค. 66

creator
ภาวดี อภิบุญวัฒน์
BookmarkLineCopy
-ก
+
Light
Dark
ฟังบทความ

...

LATEST

+

Everyday Life

Dark Empath คืออะไร ทำไมเรื่องดีๆ อย่างการ ‘เข้าอกเข้าใจผู้อื่น’ ถึงถูกนำไปใช้ในทางลบได้

19 พ.ย. 67

Live & Learn
Dark Empath คืออะไร ทำไมเรื่องดีๆ อย่างการ ‘เข้าอกเข้าใจผู้อื่น’ ถึงถูกนำไปใช้ในทางลบได้
morebutton read more
Summary
  • “พ่อเบื่อจะมีชีวิตอยู่แล้ว”, “เมื่อไรฉันจะตายให้มันจบๆ ไป”, “แม่คิดถึงพ่อของลูก แม่อยากตามไปเจอเขาแล้ว” – ผู้ดูแลผู้สูงอายุน่าจะเคยได้ยินคำพูดเหล่านี้ จากพ่อแม่ปู่ย่าตายายที่เราดูแล แต่สิ่งที่เราไม่เคยรู้ ก็คือ หากผู้สูงอายุพูดสิ่งเหล่านี้ออกมา การตอบสนองแบบใดจึงจะเหมาะสม และไม่ทำร้ายจิตใจที่กำลังอ่อนไหวของพวกท่าน
  • ที่เป็นเช่นนั้น เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า ความเชื่อที่ว่าการพูดถึงเรื่องความตายถือเป็นลางร้าย ยังคงฝังลึกอยู่ในสังคมไทย ดังนั้น เมื่อได้ยินใครพูดถึงความตาย เราก็มักจะเลี่ยงว่า “อย่าพูดอย่างนั้นสิ เป็นลางไม่ดี” ซึ่งไม่ว่าจะเพราะถือโชคลางจริงๆ หรือเพราะไม่รู้ควรตอบสนองอย่างไร แต่การบอกปัดเช่นนั้น อาจเท่ากับว่าเรากำลังปิดโอกาสที่จะได้รับรู้ถึงปัญหาที่อยู่เบื้องลึกในใจของผู้สูงอายุ
  • แทนการบอกว่า “อย่าพูดแบบนั้น แม่ไม่เป็นอะไรหรอก” ลองเปลี่ยนเป็น “หนูอยู่ตรงนี้เพื่อแม่นะ จะไม่ทิ้งแม่ไปไหน แม่มีอะไรอยากบอกหรือเปล่า” เพราะบ่อยครั้งการที่ผู้สูงอายุบ่นอยากตาย อาจเป็นเพราะพวกเขาไม่รู้ว่าจะสื่อสารสิ่งที่รู้สึกอย่างไร ดังนั้น เมื่อลูกหลานใส่ใจถามและตั้งใจฟัง ก็อาจช่วยให้ผู้สูงวัยได้ปลดปล่อยความกังวลใจออกมา ขณะเดียวกัน ลูกหลานก็ได้ทำหน้าที่อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องรู้สึกผิด หรือโทษตัวเองว่าดูแลพวกท่านไม่ดีพอ
  • สุดท้ายแล้ว ความรู้สึกว่าชีวิตคือกรงขังของผู้สูงวัย อาจเบาบางลงได้ เมื่อลูกหลานมองพวกท่านอย่างเข้าใจ และทำให้ช่วงบั้นปลายชีวิตพวกท่านเปรียบเสมือน ‘ของขวัญ’ อีกครั้งจากกำลังใจของลูกหลาน เพราะเราอาจมีโอกาสแค่วันนี้เวลานี้เท่านั้น ที่จะช่วยเหลือพวกท่านได้

...



Share article
  • Line
  • link

RELATED

+

ทัศนคติเชิงบวกต่อการสูงวัย สูตรลับในน้ำพุแห่งความเยาว์วัยที่ทำให้เรามีชีวิตยืนยาวพร้อมสุขภาวะที่ดี

Follow

TRENDING

+
morebutton read more